พระนักศึกษา ม.สงฆ์สิตากุ อบรม UG5 วัดพระธรรมกาย
วัดพระธรรมกายจัดอบรม UG5 ให้กับพระนักศึกษา แม่ชี อุบาสก อุบาสิกา จากมหาวิทยาลัยสงฆ์สิตากุ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา
งานวิสาขบูชา ครั้งที่ 11 ณ ประเทศมองโกเลีย
คณะสงฆ์ไทยร่วมกับคณะสงฆ์มองโกเลีย และองค์กรภาคี ร่วมกันจัดงานวันวิสาขบูชา ครั้งที่ 11 เพื่อถวายเป็นพุทธบูชา และเชื่อมสัมพันธ์พุทธศาสนา 2 นิกาย
วัดพระธรรมกายลอนดอน ต้อนรับกลุ่มสาธุชนผู้สูงวัย
วัดพระธรรมกายลอนดอน ประเทศอังกฤษ ได้ต้อนรับกลุ่มสาธุชนผู้สูงวัย จาก Woking University of 3rd Age ที่ได้มาเรียนรู้การทำสมาธิ
วัดพระธรรมกายแคลิฟอร์เนีย จัดกิจกรรมเพื่อสันติภาพ
วัดพระธรรมกายแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้จัดกิจกรรมเพื่อสันติภาพ ณ เมืองโมบิล รัฐอะลาบามา
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๒๒)
ก่อนที่ผู้เขียนจะเดินทางกลับไปยังประเทศนิวซีแลนด์ ผู้เขียนได้บันทึกถึงการเดินทางครั้งนี้ไว้ว่าเป็นการเดินทางที่เต็มไปด้วยประสบการณ์ที่คุ้มค่า.....
Buddhism in Thailand and the Meditation Methods for Lay People” - June 28, 2016–Toyo University, Japan
On Tuesday June 28th, 2016 Professor Watanabe Shogo of Toyo University, Japan invited the teaching monk, Ven. Dr. Chattapong Katipanyayo, from the Meditation Center Tokyo, Japan, to give a lecture on the topic of “Buddhism in Thailand and the Meditation Methods for Lay People” for faculty members and university students at Toyo University.
วัดพระธรรมกายจอร์เจีย สอนสมาธิ ณ ศูนย์ปฏิบัติธรรมอัลบาม่า
พระอาจารย์จากวัดพระธรรมกายจอร์เจีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้จัดปฏิบัติธรรมและสอนสมาธิให้แก่ชาวท้องถิ่น ณ ศูนย์ปฏิบัติธรรมอัลบาม่า
“พระมหา ดร.พงศ์ศักดิ์ ฐานิโย” ผู้จบปริญญาเอกเร็วที่สุดในรอบ ๓๗๐ ปีของมหาวิทยาลัยชั้นนำประเทศญี่ปุ่น
นาฬิกาบอกเวลาบ่ายสองโมง เรารู้สึกตื่นเต้นกับนัดสำคัญ ที่จะได้สัมภาษณ์อาจารย์มหาวิทยาลัยด้านพุทธศาสตร์ชั้นนำของประเทศญี่ปุ่น เจ้าของสถิติ “ผู้จบปริญญาเอกเร็วที่สุดในรอบ ๓๗๐ ปี นับตั้งแต่ก่อตั้งมหาวิทยาลัยมา” “พระมหา ดร.พงศ์ศักดิ์ ฐานิโย” คือเจ้าของสถิตินี้
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๙)
สำหรับในฉบับที่แล้วนั้น ผู้เขียนได้พาท่านผู้อ่านให้ย้อนกลับไปรู้จักกับประวัติศาสตร์ของ “พระธรรมจักรศิลา” และความเชื่อมโยงกันของการที่พระพุทธศาสนาได้เริ่มเข้ามาสู่ดินแดนสุวรรณภูมิแห่งนี้ เมื่อราวพุทธศตวรรษที่ ๑๑ หรือประมาณ ๑,๔๐๐ กว่าปีล่วงมาแล้ว
ความสุข ณ ศูนย์กลางกายกลางทวีปอเมริกา
จุดเชื่อมต่อระหว่างอเมริกาเหนือกับอเมริกาใต้ ยังมีดินแดนที่หากมองดูจากแผนที่โลกแล้วมีลักษณะเหมือนคอคอดเล็ก ๆ ที่หลายคนอาจไม่ค่อยรู้จักเท่าไรนัก ดินแดนแถบนี้ส่วนหนึ่งเป็นถิ่นที่อารยธรรมมายาในสมัยโบราณเคยเจริญรุ่งเรือง